ผิดสัญญาด้วยเหตุอย่างอื่นในคดีประกันภัย ศาลฎีกาวางอายุความกี่ปี

0
ผิดสัญญาด้วยเหตุอย่างอื่นในคดีประกันภัย ศาลฎีกาวางอายุความกี่ปี คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2565 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 861 บัญญัติว่า อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่าเบี้ยประกันภัย จะเห็นได้ว่าในการทำสัญญาประกันภัย คู่สัญญาอาจกำหนดเงื่อนไขในการจ่ายค่าสินไหมทดแทนเป็นเหตุวินาศภัยหรือเหตุอย่างอื่นที่มิใช่วินาศภัยก็ได้ แล้วแต่ผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัยจะตกลงกัน และคำว่า วินาศภัย นั้น ป.พ.พ. มาตรา 869 บัญญัติให้หมายรวมเอาความเสียหายอย่างใด ๆ บรรดาซึ่งจะพึงประมาณเป็นเงินได้ ดังนั้น ความเสียหายอันเป็นวินาศภัยย่อมต้องเป็นเหตุหรือภัยใด...

บริษัทประกันภัยสามารถเขียนสัญญาให้รับผิดโดยชำระค่าเสียหายเบื้องต้นอย่างเดียวได้หรือไม่

0
บริษัทประกันภัยสามารถเขียนสัญญาให้รับผิดโดยชำระค่าเสียหายเบื้องต้นอย่างเดียวได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2765/2565 กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ข้อ 3.1.7 มีข้อความว่า กรณีผู้ประสบภัยเป็นผู้ขับขี่รถคันที่เอาประกันภัยและเป็นฝ่ายที่ต้องรับผิดต่ออุบัติเหตุหรือไม่มีผู้ใดต้องรับผิดต่อผู้ขับขี่ที่เป็นผู้ประสบภัย บริษัทจะรับผิดจ่ายค่าสินไหมทดแทนไม่เกินค่าเสียหายเบื้องต้นเท่านั้น ดังนั้น การที่จำเลยจะอ้างข้อสัญญาดังกล่าวเพื่อจำกัดความรับผิดของตนเองไม่เกินค่าเสียหายเบื้องต้นจึงมีได้เพียงสองกรณีคือ (1) ผู้ประสบภัยซึ่งเป็นผู้ขับขี่เป็นฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือ (2) ไม่มีผู้ใดต้องรับผิดต่อผู้ขับขี่ในอุบัติเหตุนั้น เมื่อพิจารณาคู่มือตีความกรมธรรม์คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถหน้า 8 ข้อ 3.3 ใน2) ได้ยกตัวอย่างอธิบายความหมายของข้อความที่ว่า “ไม่มีผู้ใดรับผิดตามกฎหมายต่อผู้ประสบภัยที่เป็นผู้ขับขี่นั้น เช่น ถูกรถอื่นชนเป็นเหตุให้ผู้ประสบภัยที่เป็นผู้ขับขี่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต แต่รถที่มาชนนั้นหลบหนีไปไม่สามารถติดตามหรือทราบได้ว่าผู้ใดเป็นผู้ที่จะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย”...

เมาแล้วขับ และขับรถหวาดเสียวมีโอกาสก่อให้เกิดอันตราย ศาลมีโอกาสไม่รอการลงโทษหรือไม่

0
เมาแล้วขับ และขับรถหวาดเสียวมีโอกาสก่อให้เกิดอันตราย ศาลมีโอกาสไม่รอการลงโทษหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1580/2542 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 90, 91, 138 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522มาตรา 43, 157, 160 และนับโทษต่อจากคดีอาญาหมายเลขดำที่ 29/2541 ของศาลชั้นต้น จำเลยให้การรับสารภาพ และรับว่าเป็นบุคคลคนเดียวกับจำเลยในคดีที่โจทก์ขอให้นับโทษต่อ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 138 วรรคสอง พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ. 2522 มาตรา...

ความผิดตามพรบ.จราจรทางบก ผู้เสียหายสามารถอุทธรณ์ขอให้ลงโทษหนักขึ้นได้หรือไม่

0
ความผิดตามพรบ.จราจรทางบก ผู้เสียหายสามารถอุทธรณ์ขอให้ลงโทษหนักขึ้นได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 139/2565 ความผิดฐานขับรถในขณะเมาสุราเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 โจทก์ร่วมทั้งสามไม่ใช่ผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำความผิดฐานนี้โดยตรงจึงไม่ใช่ผู้เสียหาย ไม่มีสิทธิอุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำเลยหนักกว่าโทษตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นในความผิดตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งรับอุทธรณ์ของโจทก์ร่วมทั้งสามและศาลอุทธรณ์ภาค 3 รับพิจารณาในข้อหานี้โดยกำหนดโทษใหม่เป็นจำคุก 4 ปี จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปัญหาดังกล่าวแม้คู่ความมิได้อุทธรณ์ฎีกา แต่เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 195 วรรคสอง ประกอบมาตรา 225ผู้ตายขับรถจักรยานยนต์ออกมาจากค่ายสุรธรรมพิทักษ์ แล้วเปลี่ยนช่องเดินรถไปทางขวาที่มีรถยนต์กระบะของจำเลยแล่นอยู่...

ไม่ยอมเป่าแอลกอฮอร์ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานตำรวจ มีความผิดฐานใดบ้าง

0
ไม่ยอมเป่าแอลกอฮอร์ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานตำรวจ มีความผิดฐานใดบ้าง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 411/2565 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 291, 368 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 43, 142, 157, 160 ตรี จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91, 291, 368 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา...

ต่างฝ่ายต่างประมาท ต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมหรือไม่

0
ต่างฝ่ายต่างประมาท ต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมหรือไม่คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2127/2565 โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 3,000,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินจำนวนดังกล่าวนับแต่วันที่ 22 เมษายน 2559 เป็นต้นไปจนกว่าจะชำระเสร็จแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ให้การและแก้ไขคำให้การขอให้ยกฟ้อง ระหว่างพิจารณาโจทก์ยื่นคำร้องขอถอนฟ้องจำเลยที่ 2 ศาลชั้นต้นอนุญาต และจำเลยที่ 1 ขอให้หมายเรียกนาย ศ. เข้ามาเป็นจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นอนุญาต จำเลยร่วมให้การขอให้ยกคำร้องขอหมายเรียกจำเลยร่วม ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 1...

ความผิดตามพรบ.จราจรทางบก สามารถยื่นคำร้องขอเป็นโจทก์ร่วมได้หรือไม่

0
ความผิดตามพรบ.จราจรทางบก สามารถยื่นคำร้องขอเป็นโจทก์ร่วมได้หรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 295/2555 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291, 390 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 39, 40, 43, 151, 157 จำเลยให้การปฏิเสธ ระหว่างพิจารณานายวีระพันธุ์ เจ้าของรถยนต์หมายเลขทะเบียน บต 999 บุรีรัมย์ ยื่นคำร้องขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นเงิน 57,550 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี...

ผู้เสียหายโดยนิตินัย ในคดีละเมิด ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ผู้เสียหายโดยนิตินัย ในคดีละเมิด ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5055/2559 โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 จำเลยให้การปฏิเสธ ระหว่างพิจารณา นายเปิมและนางทิพวัลย์ บิดาและมารดาของนางสาวยุพาพร ผู้ตายยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาต และให้เรียกนายเปิมว่า โจทก์ร่วมที่ 1 กับเรียกนางทิพวัลย์ว่า โจทก์ร่วมที่ 2 ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 291 จำคุก 2 ปี และปรับ 12,000...

ประมาทไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

0
ประมาทไม่ยิ่งหย่อนกว่ากันศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2324/2523 โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิด โดยจำเลยที่ 1 ขับรถยนต์ไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ชนรถยนต์โจทก์เสียหาย ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าผู้ขับรถยนต์ของโจทก์ที่ 1 และจำเลยที่ 1 ต่างขับรถโดยความประมาทด้วยกันให้จำเลยที่ 1 ที่ 2 ร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ที่ 2 3,000 บาท แก่โจทก์ที่ 3 250 บาท ซึ่งเป็นกึ่งหนึ่งของค่าเสียหายทั้งหมด...

ศาลฎีกาวินิจฉัยความรับผิดของนายจ้าง ในพฤติการณ์ไม่ขาดตอนไว้อย่างไร

0
ศาลฎีกาวินิจฉัยความรับผิดของนายจ้าง ในพฤติการณ์ไม่ขาดตอนไว้อย่างไร ความรับผิดของนายจ้างในการที่ลูกจ้างกระทำละเมิด ประเด็นหลัก: ความรับผิดชอบของนายจ้างต่อการกระทำละเมิดที่เกิดจากลูกจ้าง หากเราพูดถึงความรับผิดในสถานการณ์ที่ลูกจ้างกระทำละเมิด ไม่ว่าจะเป็นกระทำที่ผิดกฎหมายหรือเสียหายต่อบุคคลภายนอก เรื่องของความรับผิดของนายจ้างก็เป็นประเด็นที่น่าสนใจ ในบทความนี้ เราจะมาทำความเข้าใจเรื่องความรับผิดของนายจ้างในการที่ลูกจ้างกระทำละเมิดกัน หลักความรับผิดของนายจ้างตามกฎหมาย ในกฎหมายของบางประเทศ นายจ้างอาจต้องรับผิดชอบต่อความผิดที่ลูกจ้างกระทำในระหว่างการปฏิบัติงาน นายจ้างอาจถูกถือว่ามีความผิดก็ต่อเมื่อมีหลักฐานแสดงว่านายจ้างเป็นผู้สนับสนุนหรือยินยอมให้ลูกจ้างกระทำความผิด ในกรณีนี้ นายจ้างจะต้องรับผิดชอบตามความผิดของลูกจ้าง ความรับผิดตามหลักการของ "วิกฤติการณ์ที่ควบคุมได้" นายจ้างอาจต้องรับผิดชอบต่อความผิดพลาดของลูกจ้างในกรณีที่เกิดวิกฤติการณ์ที่ควบคุมได้ หากนายจ้างไม่ได้ให้คำแนะนำ ควบคุม ศาลฎีกาวางหลักในเรื่องดังกล่าวไว้อย่างไร คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4197/2563 โจทก์ทั้งสองฟ้องและแก้ไขคำฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองร่วมกันหรือแทนกันชำระเงินแก่โจทก์ทั้งสอง 1,190,000 บาท และชำระค่าเสียหายของรถจักรยานยนต์แก่โจทก์ที่ 2 เป็นเงิน...